มะมุด


ชื่อภาษาไทย : มะมุด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mangifera foetida Lour.
ชื่ออื่นๆ : มะละมุดไทย มะม่วงป่า (ใต้) มะแจ มาจัง มาแจฮูแต (มลายู-นราธิวาส)
อาณาจักร(Kingdom) : อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
ดิวิชัน(Division) หรือไฟลัม(Phylum) : ไม่ระบุ
คลาสหรือชั้น(Class) ไม่ระบุ
ลำดับ(Order) : ไม่ระบุ
แฟมิลี่หรือวงศ์(Family) : ไม่ระบุ
จีนัส(Genus) : ไม่ระบุ
สปีชีส์(species) : ไม่ระบุ
การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุ
ลักษณะ

ไม้ต้น สูง 30-40 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทรงสูงถึงค่อนข้างกลม ลำต้นเปลาตรง เปลือกสีน้ำ



ตาลอมเขียวคล้ำ แตกเป็นสะเก็ดหยาบ ๆ เปลือกชั้นในสีน้ำตาลแดง แผ่นใบ รูปขอบขนานแกมรูปรี ถึงรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน กว้าง 5-15 เซนติเมตร ยาว 15-35 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือทู่บางครั้งแหลมโดยเฉพาะในต้นขนาดเล็ก โคนใบสอบ หรือเรียวเข้าหาก้านใบ เส้นแขนงใบ 11-30 คู่ ก้านใบยาว 2-8 เซนติเมตร ดอก เล็ก สีชมพู ถึงสีแดง ออกเป็นช่อตามปลายกิ่ง ผล รูปไข่ เบี้ยว เนื้อหนา กว้าง 6-7 เซนติเมตร ยาว 8-10 เซนติเมตร เมื่อแก่สุกเหลืองแกมเขียว

การขยายพันธ์

N/A

พื้นที่ขยายพันธ์

พบขึ้นตามชายฝั่งแม่น้ำ ในป่าพรุและในป่าดิบชื้นที่ลุ่มต่ำทางภาคใต้ของประเทศไทย

อ้างอิง

www.dnp.go.th/Pattani_botany/พันธุ์ไม้/ป่าพรุ/มะมุด/มะมุด.htm

คำอธิบายอื่นๆ

N/A

สถานที่
ศูนย์เรียนรู้กสิกรรมธรรมชาติสวนลุงนิล ชุมชนบ้านทอน-อม อำเภอทุ่งตะโก

ภาพประกอบ 

แสดงความคิดเห็น

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ยึดปรัชญาตามมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คือ มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญาอดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อความเจริญรุ่งเรือง วัฒนา ของสังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยแม่โจ้

สถานที่ติดต่อ




  • Phone
    (+66) 077-519495
  • E-Mail
    chomphon@mju.ac.th
  • Address
    มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร 99 หมู่ 5 บ้านแหลมสันติ
    ตำบลละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร 86170

  • จำนวนผู้เข้าชมหน้านี้ทั้งหมด 130 ครั้ง
  • การเข้าถึงหน้านี้ 5 ลำดับล่าสุด(เวลา)
    5/8/2025 2:51:22 PM
    4/24/2025 4:17:18 AM
    4/19/2025 10:30:56 PM
    4/19/2025 7:01:30 PM
    4/19/2025 4:24:56 PM