ขุนไม้


ชื่อภาษาไทย : ขุนไม้
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nageia wallichiana
ชื่ออื่นๆ : ขุนไม้,พญาไม้
อาณาจักร(Kingdom) : อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
ดิวิชัน(Division) หรือไฟลัม(Phylum) : ไม่ระบุ
คลาสหรือชั้น(Class) ไม่ระบุ
ลำดับ(Order) : ไม่ระบุ
แฟมิลี่หรือวงศ์(Family) : ไม่ระบุ
จีนัส(Genus) : ไม่ระบุ
สปีชีส์(species) : ไม่ระบุ
การใช้ประโยชน์ : ไม้ประดับ
ลักษณะ

ไม้ต้นขนาดใหญ่ สูง 30-50 ม. เปลือกเรียบ ลอกเป็นแผ่นขนาดใหญ่ ใบเรียงสลับตั้งฉาก รูปรีแกมใบหอก ขนาดประมาณ 10-18 x 3-5 ซม. แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบรูปลิ่ม แยกเพศต่างต้น โคนเพศผู้ออกเป็นกลุ่ม 1-7 โคน ตามซอกใบ ยาวประมาณ 1 ซม. ใบสร้างไมโครสปอร์รูปหอก ขนาดเล็ก ยาว 0.2-0.3 ซม. โคนเพศเมียส่วนมากออกเดี่ยวๆ ก้านยาวได้ประมาณ 2 ซม. ฐานรองเมล็ด (receptacle) อวบน้ำ มีสีดำเมื่อสุก เยื่อหุ้มเมล็ดสีม่วงหรืออมสีแดง เมล็ดกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-1.8 ซม.

การขยายพันธ์

ใช้เมล็ด

พื้นที่ขยายพันธ์

แทบทุกภาค ขึ้นตามที่ลาดชัน สันเขา ในป่าดิบชื้น ป่าดิบเขา ระดับความสูงจนถึงประมาณ 2000 เมตร

อ้างอิง

www.bedo.or.th › หน้าแรก › ทรัพยากรชีวภาพ

คำอธิบายอื่นๆ

N/A

สถานที่
ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านกำนันเคว็ด ชุมชนวังตะกอ อำเภอหลังสวน

ภาพประกอบ 

แสดงความคิดเห็น

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ยึดปรัชญาตามมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คือ มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญาอดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อความเจริญรุ่งเรือง วัฒนา ของสังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยแม่โจ้

สถานที่ติดต่อ




  • Phone
    (+66) 077-519495
  • E-Mail
    chomphon@mju.ac.th
  • Address
    มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร 99 หมู่ 5 บ้านแหลมสันติ
    ตำบลละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร 86170

  • จำนวนผู้เข้าชมหน้านี้ทั้งหมด 109 ครั้ง
  • การเข้าถึงหน้านี้ 5 ลำดับล่าสุด(เวลา)
    5/8/2025 12:37:52 PM
    4/24/2025 4:13:46 AM
    4/20/2025 6:04:03 AM
    4/19/2025 10:28:06 PM
    4/19/2025 6:58:36 PM