ทองหลางใบมน


ชื่อภาษาไทย : ทองหลางใบมน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : ErythrinastrictaRoxb.
ชื่ออื่นๆ : ทองกี ทองแค ทองบก (ภาคเหนือ) เป็นต้น
อาณาจักร(Kingdom) : อาณาจักรพืช (Kingdom Plantae)
ดิวิชัน(Division) หรือไฟลัม(Phylum) : ไม่ระบุ
คลาสหรือชั้น(Class) ไม่ระบุ
ลำดับ(Order) : ไม่ระบุ
แฟมิลี่หรือวงศ์(Family) : ไม่ระบุ
จีนัส(Genus) : ไม่ระบุ
สปีชีส์(species) : ไม่ระบุ
การใช้ประโยชน์ : ไม่ระบุ
ลักษณะ

ต้นทองหลางใบมน จัดเป็นไม้ยืนต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ มีความสูงได้ประมาณ 5-15 เมตร ลำต้นมีลักษณะตั้งตรง เปลือกต้นหนาเป็นร่องลึก ตามกิ่งและก้านมีหนามแหลมคมเล็ก ๆ

ใบทองหลางใบมน ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อยมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดแต่มุมโค้งมน ขอบใบเรียบ ใบมีขนาดกว้างประมาณ 7 เซนติเมตร และยาวประมาณ 5 เซนติเมตร

ดอกทองหลางใบมน ออกดอกเป็นช่อแน่นที่ปลายกิ่ง ดอกเป็นสีแดงเลือดนก มีลักษณะคล้ายดอกแค

ผลทองหลางใบมน ผลมีลักษณะเป็นฝักแคบ ภายในฝักมีเมล็ดประมาณ 2-4 เมล็ด

การขยายพันธ์

ด้วยเมล็ด

พื้นที่ขยายพันธ์

พบได้ทั่วไปทางภาคเหนือ มักขึ้นตามป่าโปร่ง ป่าผลัดใบ และมีปลูกไว้ตามบ้านและหัวไร่ปลายนา

อ้างอิง

frynn.com/ทองหลางใบมน/

คำอธิบายอื่นๆ

N/A

สถานที่
ชุมชนเกาะพิทักษ์ อำเภอหลังสวน จังหวัดชุมพร

ภาพประกอบ 

แสดงความคิดเห็น

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร

มหาวิทยาลัยแม่โจ้ – ชุมพร ยึดปรัชญาตามมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คือ มุ่งมั่นพัฒนาบัณฑิตสู่ความเป็นผู้อุดมด้วยปัญญาอดทน สู้งาน เป็นผู้มีคุณธรรม และจริยธรรม เพื่อความเจริญรุ่งเรือง วัฒนา ของสังคมไทยที่มีการเกษตรเป็นรากฐาน

เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้อง

มหาวิทยาลัยแม่โจ้
มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศมหาวิทยาลัยแม่โจ้

สถานที่ติดต่อ




  • Phone
    (+66) 077-519495
  • E-Mail
    chomphon@mju.ac.th
  • Address
    มหาวิทยาลัยแม่โจ้ - ชุมพร 99 หมู่ 5 บ้านแหลมสันติ
    ตำบลละแม อำเภอละแม จังหวัดชุมพร 86170

  • จำนวนผู้เข้าชมหน้านี้ทั้งหมด 86 ครั้ง
  • การเข้าถึงหน้านี้ 5 ลำดับล่าสุด(เวลา)
    4/25/2024 5:49:39 AM
    3/27/2024 3:21:02 AM
    2/25/2024 2:30:52 AM
    2/10/2024 4:02:15 AM
    1/17/2024 10:54:49 PM